


สารอาหารที่สำคัญต่อดวงตา
- ลูทีน (Lutein) และ ซีแซนทีน (Zeaxanthin) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่พบได้ในจุดรับภาพที่จอประสาทตา ช่วยดูดซับแสงสีฟ้าไม่ให้มาทำลายจอประสาทตา
- แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพสูง ช่วยปกป้องดวงตาจากแสงสีฟ้า ช่วยลดอาการตาล้า และเพิ่มการโฟกัสของดวงตา
- สารสกัดจากผลบิลเบอร์รี่ (Bilberry Extract) มีสาร Anthocyanin ที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยบำรุงสายตาให้แข็งแรง
ทำไมควรเริ่มดูแลดวงตากันเร็วขึ้น
- ดวงตารับภาระหนักตั้งแต่เช้าจนถึงเวลานอน แสงสีฟ้าจากสมาร์ทโฟนและคอมพิวเตอร์ ทำลายดวงตา
- เข้าสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) คนอายุเกิน 65 ปี มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคเกี่ยวกับดวงตาถึง 50%
การทำงานร่วมกันของสารอาหารสำคัญต่อดวงตา
- ลูทีน และ ซีแซนทีน ช่วยปกป้องจอประสาทตา
- แอสตาแซนธิน ช่วยปกป้องดวงตาจากแสงสีฟ้า ช่วยลดอาการตาล้า และเพิ่มการโฟกัสของดวงตา
- สารสกัดจากผลบิลเบอร์รี่ ช่วยบำรุงสายตาให้แข็งแรง
ผักผลไม้ที่ให้แคโรทีนอยด์ (Carotenoid) สูง
- มะเขือเทศ (Tomato) มีสารไลโคปีน (Lycopene) สูง
- ฟักทอง (Pumpkin) มีสารลูทีน ซีแซนทีน วิตามินเอ วิตามินซี และสังกะสี
- แครอท (Carrot) มีสารเบต้าแคโรทีน (Beta-Carotene)
สรุป
ลูทีน ซีแซนทีน แอสตาแซนธิน และสารสกัดจากผลบิลเบอร์รี่ เป็นสารอาหารสำคัญต่อดวงตา ช่วยบำรุงสายตาให้แข็งแรง ป้องกันโรคเกี่ยวกับดวงตา และลดอาการตาล้า
คำแนะนำ
- รับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยสารอาหารเหล่านี้เป็นประจำ
- หลีกเลี่ยงการจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์มือถือเป็นเวลานาน
- ตรวจสุขภาพดวงตาเป็นประจำ






**วิตามินและสารอาหารที่ส่งผลต่อระบบสายตา**
1. **วิตามินเอ (Vitamin A)**
– สำคัญสำหรับการสร้าง Rhodopsin ซึ่งช่วยในการมองเห็นในเวลากลางคืน
– หากร่างกายขาดวิตามินเอ จะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ เช่น:
– โรคตาบอดกลางคืน (Night Blindness or Nyctalopia)
– เยื่อบุนัยน์ตาแห้ง (Conjunctival xerosis)
2. **วิตามินซี (Vitamin C)**
– เป็นส่วนประกอบของกระจกตาและเยื่อบุตา
– การทานวิตามินซีวันละ 490 mg สามารถลดความเสี่ยงต่อโรคต้อกระจกได้ถึง 45%
3. **วิตามินบี2 (Vitamin B2 or Riboflavin)**
– การขาดวิตามินบี2 ส่งผลให้เกิดระคายเคืองตา, ไม่กล้าสู้แสง, มองไม่ชัด
– ลดความเสี่ยงของการเกิดต้อกระจกลงได้ 31-51%
4. **สังกะสี (Zinc)**
– มีความเข้มข้นสูงในดวงตา โดยเฉพาะในเรตินา
– มีบทบาทในการส่งวิตามินเอจากตับไปยังเรตินา เพื่อสร้างเม็ดสีและปกป้องดวงตา
5. **Beta-Carotene & Vitamin A**
– มีบทบาทสำคัญในการเจริญเติบโต, การมองเห็น, และการเสริมสร้างเยื่อบุต่างๆ ของร่างกาย



ประโยชน์ของ Boom iZ
Boom iZ เป็นอาหารเสริมบำรุงสายตาในรูปแบบเม็ดฟู่ มีส่วนช่วยในการมองเห็น* ดังนี้
- ปกป้องดวงตาจากแสงสีฟ้า (Blue Light)
- ป้องกันและบรรเทาอาการ CVS (ตาแห้ง พร่ามัว ไม่โฟกัส มองไม่ชัด ปวดกระบอกตา ปวดตึงคอ บ่า ไหล่)
- ช่วยให้การมองเห็นในเวลากลางคืนดีขึ้น
- ช่วยปรับโฟกัสหลังเจอแสงจ้าดีขึ้น
- บรรเทาอาการตาแห้ง ลดการอักเสบและอาการระคายเคืองอันเนื่องมาจากอาการตาแห้ง
- ลดความเสี่ยงในการเกิดโรค AMD และช่วยให้อาการดีขึ้น
- ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคต้อกระจก
*ผลการวิจัยจากสารสกัด AstaReal@, FloraGlo@, Bilberon@,BioActivistsTM, Lutein,Beta-Carotene และ Vitamin Aซึ่งเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร บูม ไอซี
ส่วนประกอบสำคัญ
ใน 1 เม็ดฟู่ ประกอบด้วย
- แอสต้าแซนธิน 3 มก.
- ลูทีน 10 มก.
- สารสกัดจากบิลเบอร์รี่ 21.60 มก.
- สารสกัดจากซิตรัส ไบโอฟลาโวนอยด์ 49 มก.
- ซิงค์ อะมิโน แอซิด คีเลต 7.50 มก.
- วิตามิน ซี 29.10 มก.
- ไลโคปีน 3 มก.
- ผงแครอท
- ผงฟักทอง
- เบต้า-แคโรทีน 4.15 มก.
- วิตามิน เอ อะซิเตต 330 มคก. อาร์อี
- ไรโบฟลาวิน 5′-ฟอสเฟต, โซเดียม 0.70 มก.
วิธีรับประทาน
วันละ 1-2 เม็ด ใส่ในน้ำดื่ม รอให้ละลายจนไม่มีฟองแล้วดื่ม
ผู้ที่ควรใส่ใจ ดูแลและบำรุงสายตาเป็นพิเศษ
- ใช้สายตาในการทำงานยาวนานมากกว่าวันละ 6 ชั่วโมง
- ทำงานในห้องแอร์หรือทำกิจกรรมกลางแสงแดดจ้าประจำ
- ใส่คอนแทคเลนส์เป็นประจำ
- มีปัญหาเกี่ยวกับสายตาหรือดวงตา
วิธีสังเกตเมื่อสุขภาพตาเริ่มมีปัญหา
- เมื่อเราใช้สายตา รู้สึกเมื่อยตาหรืออ่อนล้าเร็วและบ่อยขึ้น
- มีอาการตาพร่ามัว มองเห็นไม่ชัด โฟกัสได้ช้าลง
- มีอาการตาแห้ง แสบและเคืองตา สู้แสงไม่ได้ เวลากระพริบตาแล้วมีน้ำตาไหล
- ปวดบริเวณกระบอกตา รวมไปถึงปวดศีรษะ ต้นคอ ไหล่ หลัง
ตัวการทำร้ายดวงตา และการมองเห็น
- แสงสีฟ้า (Blue Light) จากหน้าจอคอมพิวเตอร์ มือถือ แท็บเล็ต ทีวี แสงแดด และหลอดไฟ
- รังสี UV
แสงสีฟ้า (Blue Light)
แสงสีฟ้าจะมีพลังงานสูงเมื่อผ่านข้าสู่ดวงตาไปถึงจอประสาทตาหรือจอตา (Retina) ที่อยู่ด้านหลังดวงตา จะเหนี่ยวนำทำให้เกิดอนุมูลอิสระทำร้ายจอตาทำให้เสื่อมได้ ประสิทธิภาพการมองเห็นภาพจะลดลง เมื่อเวลาผ่านไปนานเข้าก็จะทำลายจุดภาพชัด (Macula) เป็นจุดที่อยู่ตรงกลางของจอตา เกิดโรคจอประสาทตาเสื่อม (Age-Related Macular Degeneration /AMD) ซึ่งมักเกิดในอายุที่มากขึ้น
รังสี UV
เลนส์ตาจะช่วยกรองรังสี UV ไม่ให้เข้าไปในตา แต่อนุมูลอิสระที่เกิดขึ้นจากรังสี UV ก็จะทำลายเลนส์ตา ทำให้งุ่นมัว มองเห็นไม่ชัด เกิดเป็นต้อกระจก (Cataract) ได้








